วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รายชื่อสมาชิก ไฟฟ้าอุตสาหกรรม 56

รายชื่อสมาชิก
1. อาจารย์ ธภัทร   ชัยชูโชค                   อ.ปาล์ม
2. นาย อภิวัฒน์   เจิมขวัญ                      กุ้ง
3. นาย ชัยยงค์   ชูแก้ว                           พี่ปั๊ม
4. นาย วิโรจน์   เหมมาน                        ลิฟ
5. นาย อาคม   เรืองกูล                          พี่แบงค์
6. นาย อนุพงษ์   เทพพรหม                    ทิว
7. นายกฤษกร สุวรรณวงศ์                       เอฟ
8. นายจตุพงค์ ณ สงขลา                        พี่พงค์
9.  นายจิรกิตต์ สุขเกษม                         บอย
10.  นายจิรพงศ์ แจ่มศรี                          เอฟ
11. นายเชิดชาย เรืองฤทธิ์                       ชาย
12. นายตวิษ เพ็งศรี                              บ่าว
13. นายธีรวุฒิ ศรีสวัสดิ์                          วุฒิ
14. นายนพรัตน์ แก้วกำเนิด                     เอ็กซ์
15. นายนันทปรีชา ปิยะ บุญสนอง             โปร
16. นายนิรันดร์ เสมอพบ                         แบ
17. นายนิโรจน์ หวันปรัตน์                       ซอล
18. นายปภังกร เอียดจุ้ย                         กิ๊ฟ
19. นายปรินทร์ ผุดผ่อง                         บอล
20. นายพิชชากร มีบัว                           กร
21. นายพีระพงศ์ จันทร์ชู                        พงศ์
22. นายภาคภูมิ จุลนวล                         เจ
23. นางสาวเยาวเรศ ร่วมพรภาณุ             โรส
24. นายรชต อารี                                 รอน
25. นายรุสดี วาลี                                  ซี
26. นายวสุ ราชสีห์                               หนัง
27. นายวัชรินทร์ เขียนวารี                      ปอนด์
28. นายวิฆเนศ ณ รังษี                          หมู
29. นายวิโรจน์ เหมมาน                        พี่ลิฟ
30. นายศุภวัฒน์ ไชยของพรม                 รุส
31. นายสมประสงค์ วงศ์สุวรรณ              ทู
32. นายสมศักดิ์ มากเอียด                     พี่กล้วย
33. นายสราวุฒิ เกบหมีน                       ซอล
34. นายสานิต มิตสุวรรณ                      ปอ
35. นายสุรเดช สม่าแห                         ยา
36. นายสุรศักดิ์ สะเกษ                         โจ้
37. นายเสะมาดี ตูแวดาแม                     ดี
38. นายอนิรุตต์ ภาระบุญ                      โต๋
39. นายอภิเดช ทองอินทร์                    โหนด
40. นายอภิสิทธิ์ ยะโกบ                        ดุล
41. นายอับดุลรอมัน บูกา                      มัน
42. นายอับดุลเลาะ กาโฮง                    เลาะ
43. นายวงศธร อินทมะโน                     พี่หมีด
44. นายอานนท์ นาควิเชียร                   นนท์
45. นายอาลียะ สะอุ                            ฟาน
46. นายอาหามะซุบฮี จะแน                  มะ
47. นายอิสมาแอ   มะยี                       แอ
48. นายจตุรงค์ หิรัญกูล                       นิว
49. นายเกรียงศักดิ์   บุญประเสริฐ           เบียร์
50. นายพุฒิพงศ์   หนูนอง                   เพชร

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบสมบูรณ์


           การเชื่อมโยงแบบสมบูรณ์ (Complete Interconnect)

รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่ายโทโพโลยีแบบสมบูรณ์ (full connected or complete topology)
     เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเครือข่ายเข้าด้วยกันแบบจุด ต่อจุด คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทุกๆ ตัว มีสายหรือสื่อส่งข้อมูลต่อเฉพาะระหว่างอุปกรณ์แต่ละตัว ทำให้มองดูเหมือนกับว่าระหว่างอุปกรณ์ 2 ตัวมีถนนที่ใช้เฉพาะ 2 อุปกรณ์นั้นๆ  ดังนั้นถ้าเรามีอุปกรณ์ n ตัว แต่ละตัวต้องมีช่องทางสื่อสาร (channel) เท่ากับ n- 1 ช่อง และมีช่องทางทั้งหมดในเครือข่ายเท่ากับ n(n-1)/2 ช่อง ดังแสดงในรูปภาพ

                ข้อดี
(1)    มีความเร็วในการสื่อสารข้อมูลสูง โปรแกรมที่ใช้ในการควบคุมการสื่อสารก็เป็นแบบพื้นฐานไม่ซับซ้อนมากนัก

(2)    สามารถรับส่งข้อมูลได้ปริมาณมากและไม่มีปัญหาเรื่องการจัดการการจราจรในสื่อส่งข้อมูลไม่เหมือนกับแบบที่ใช้สื่อส่งข้อมูลร่วมกัน

(3)    มี ความทนทานต่อความเสียหายเมื่อสื่อส่งข้อมูลหรือสายใดสายหนึ่งเสียหายใช้การ ไม่ได้ ไม่ส่งผลต่อระบบเครือข่ายโดยรวม แต่เกิดเสียหายเฉพาะเครื่องต้นสายและปลายสายเท่านั้น

(4)    ระบบ เครือข่ายมีความปลอดภัยหรือมีความเป็นส่วนตัว เมื่อข่าวสารถูกรับส่งโดยใช้สายเฉพาะระหว่าง 2 เครื่องเท่านั้น เครื่องอื่นไม่สามารถเข้าไปใช้สายร่วมด้วย

(5)    เนื่อง จากโทโพโลยีแบบสมบูรณ์เป็นการเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด ทำให้เราสามารถแยกหรือระบุเครื่องหรือสายที่เสียหายได้ทันที ช่วยให้ผู้ดูแลระบบแก้ไขข้อผิดพราดหรือจุดที่เสียหายได้ง่าย
      ข้อเสีย
(1)    จำนวนสายที่ใช้ต้องมีจำนวนมากและอินพุด/เอาต์พุตพอร์ต (i/o port) ต้องใช้จำนวนมากเช่นกัน เพราะแต่ละเครื่องต้องต่อเชื่อมไปยังทุก ๆ เครื่องทำให้การติดตั้งหรือแก้ไขระบบทำได้ยาก

(2)    สายที่ใช้มีจำนวนมาก ทำให้สิ้นเปลืองพื้นที่ในการเดินสาย

(3)    เนื่อง จากอุปกรณ์ต้องการใช้อินพุด/เอาต์พุตพอร์ตจำนวนมาก ดังนั้นราคาของอุปกรณ์ต่อเชื่อมจึงมีราคาแพงและจากข้อเสียข้างต้นทำให้โทโพ โลยีแบบสมบูรณ์จึงถูกทำไปใช้ค่อนข้างอยู่ในวงแคบ

วันอังคารที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

โทรศัพมือถือ

  

โทรศัพท์มือถือหรือโทรศัพท์เคลื่อนที่ (และมีการเรียก วิทยุโทรศัพท์) คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสารสองทางผ่าน โทรศัพท์มือถือใช้คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐาน โดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือแต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของ โทรศัพท์บ้านและเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้ให้บริการอื่น โทรศัพท์มือถือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นในลักษณะคอมพิวเตอร์พกพาจะถูกกล่าว ถึงในชื่อสมาร์ตโฟน
โทรศัพท์มือถือในปัจจุบันนอกจากจากความสามารถพื้นฐานของโทรศัพท์แล้ว ยังมีคุณสมบัติพื้นฐานของโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มขึ้นมา เช่น การส่งข้อความสั้นเอสเอ็มเอส ปฏิทิน นาฬิกาปลุก ตารางนัดหมาย เกม การใช้งานอินเทอร์เน็ต บลูทูธ อินฟราเรด กล้องถ่ายภาพ เอ็มเอ็มเอส วิทยุ เครื่องเล่นเพลง และ จีพีเอส


   
โทรศัพมือถือ เป็นการนำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์มากมายหลายอย่างหรืออาจจะทำให้เป็นโทรศัพที่เล่นได้เหมือนคอมพิวเตอร์ ก็ตาม โทรศัพมือถือก็ยังเป็นเครื่องมือสื่อสารที่สามารถใช้งานได้หลายรูปแบบชนปจุบัน โทรศัพสามารถทำได้มากกว่าโทรออกหรือรับสาย เดียวนี้มีการพัฒนาโทรศัพมือถือให้มีการใช้งานมากมาย เช่น เข้าอินเตอร์เน็ต ฟังเพลง ดูหนัง ถ่ายรูป ถ่ายวีดีโอ หรือ Facebook  LINE เป็นต้น  นอกจากนั้นแล้วโทรศัพมือถือยังมีราคาที่แพงเนื่องจากการออกแบบโทรศัพมือถือให้ เป็นระบบ IOS Android หรือวินโดวส์ จะทำให้มีราคาสูงมาก
ข้อดี
1.ใช้สื่อสารถึงกันได้ตลอดเวลา ได้ทุกสถานที่และรวดเร็ว
2.โทรศัพมือถือยังสามารถทำได้ทุกอย่างไม่ว่าจะสื่อสาร ส่งข้อความ ฟังเพลงเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
3.สามารถถ่ายรูปหรือววีดีโอได้อย่างรวดเร็ว
4.สามารถหาแผนที่เส้นทางเดินรถได้(GPS)
5.โทรศัพยังสามารถเล่นเกมผ่านเน็ตได้อีก
6.เป็นเรื่องง่ายที่จะติดต่อหาพ่อแม่ ญาติๆ หรือคุณจะติดต่อหาเพื่อนๆก็ตาม
7.สามารถใช้แอพริเคชั่นเสริมเพื่อตรวจเช็คว่าขณะนี้คุณกำลังอยู่ที่ไหน
8.ในกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรอสถานการณ์ฉุกเฉิน จะช่วยให้การติดต่อได้ง่ายขึ้น
9.เป็นการสอนให้มีความรับผิดชอบที่จะดูแลรักษาเมื่อมีโทรศัพอยู่ข้างกาย
10.สามารถใช้เวลาทำงานติดต่องานนอกสถานที่ต่างๆ
ข้อเสีย
1.ทำให้คุณอาจจะสูญเสีย อวัยวะได้หากใช้ผิดวิธี
2.ทำให้เปนภาระทางการเงิน ต้องหาเงินจ่ายค่าโทร
3.ทำให้เป็นภาระทางใจ เช่นกลัวว่าจะหาย กลัวพัง กลัวหล่น
4.ทำให้สมองคุณ ฟ่อลง คุณจะพึ่งความจำโทรศัพแทน
5.ทำให้สังคมของคุณ แคบลง
6.ทำให้คนโกหกมากยิ่งขึ้นหรือใช้โทรศัพเป็นเครื่องมือทำผิดกฏหมาย
7.ทำให้เกินอาชญากรรมอันถึงแกชีวิตได้
8.ทำให้เกิดอาการประสาทหลอน
9.ทำให้เสียอารมณ์เวาลนอนอยู่แล้วมีคนโทรเข้ามา
10 .โทรศัพอาจจะมีราคาแพง